Waves

คลื่น

คุณสมบัติทั่วไปของคลื่น
 คลื่น  เป็นรูปแบบของการส่งผ่านพลังงานแบบหนึ่ง
คลื่นบางชนิดไม่อาศัยตัวกลางในการส่งผ่านพลังงาน  แต่ คลื่นบางชนิดต้องอาศัยตัวกลางในการส่งผ่่านพลังงาน
คลื่นที่อาศัยตัวกลางในการเคลื่อนที่ เรียกว่า “คลื่นกล” เช่น คลื่นเสียง คลื่นน้ำ และคลื่นในเส้นเชือก
ในขณะที่พลังงานถูกส่งไปที่ใด ตัวกลางบริเวณนั้นจะเคลื่อนที่หรือสั่นแบบซิมเปิลฮาร์มอนิก
ส่วนคลื่นที่ไม่อาศัยตัวกลางในการเคลื่อนที่ แต่อาศัยการเหนี่ยวนำของสนามแม่เหล็กที่เปลี่ยนแปลงกับสนามไฟฟ้าที่เปลี่ยนแปลง เรียกว่า “คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า” เช่น แสง คลื่นวิทยุ เอกซ์เรย์ เรดาร์ ไมโครเวฟ
  1. ความสัมพันธ์ระหว่าง ความเร็ว ความถี่ และความยาวคลื่น

Untitled-1

    2. ความสัมพันธ์ระหว่าง ความยาวคลื่น มุมเฟส และคาบ
การบอกตำแหน่งของอนุภาคตัวกลาง ที่สั่นแบบซิมเปิลฮาร์มอนิก เมื่อคลื่นเคลื่อนที่ผ่าน นอกจากบอกเป็นระยะกระจัดจากตำแหน่งสมดุลแล้ว  ยังอาจบอกเป็นมุมเฟสก็ได้ (โดยคิดเสมือนว่าอนุภาคตัวกลางกำลังเคลื่อนที่แบบวงกลมด้วยอัตราเร็วเชิงมุมคงที่)

wave-phase

หากพิจารณาคลื่นต่อเนื่องที่กำลังเคลื่อนที่บนตัวกลางหนึ่ง
ตำแหน่งสองตำแหน่งบนคลื่นต่อเนื่องขบวนหนึ่งที่อยู่ห่างกัน หนึ่งความยาวคลื่น จะมีความต่างเฟสกัน 360 องศา และสั่นก่อนหรือหลังกันเป็นเวลา หนึ่งคาบ
 4. การสะท้อนของคลื่น


wave-reflect2

มุมตกกระทบ = มุมสะท้อน

 

   3. การหักเห

wave-refract3

Untitled-4

  1. การแทกสอด
เป็นการรวมกันของคลื่น โดยผลจากการรวมกันนั้น ทำให้เกิดคลื่นรวมมีลักษณะเป็นคลื่นนิ่ง (Standing Wave)
ถ้า S1 และ S2 เป็นแหล่งกำเนิดคลื่นอาพันธ์ (coherent source)
สมการการแทรกสอด ณ ตำแหน่ง P

 

wave-interfere

wave interfere4

in phase  กรณี P เป็นตำแหน่ง ปฎิบัพ
Untitled-3
in phase  กรณี P เป็นตำแหน่ง บัพ

Untitled-5

ซึ่ง บางครั้ง อาจแทน S1P – S2P ด้วย d sinθ หรือ   Untitled-6wave-interfere4
        หมายเหตุ :  รูป และ สมการ ข้างต้น เป็นกรณีที่แหล่งกำเนิดคลื่นทั้งสองเป็น “แหล่งกำเนิดคลื่นอาพันธ์ที่มีเฟสตรงกัน(in phase) เท่านั้น”     ถ้ามีเฟสตรงกันข้าม (out of phase) สมการจะเป็นตรงกันข้าม และแนวกลางจะเป็น แนวบัพ
      
  1. การเลี้ยวเบนและแทรกสอดผ่านช่องแคบเดี่ยว
ในการเลี้ยวเบนและแทรกสอด ผ่านช่องแคบเดี่ยว(Single slit)
  1. ถ้า d < λ จะไม่เกิดการแทรกสอด แต่จะเกิดการเลี้ยวเบนอย่างเดียว
  2. ถ้า d » λ จะเกิดการเลี้ยวเบนดีที่สุด มีการแทรกสอด แต่แนว N1 จะอยู่ในแนวเดียวกับ slit ทำให้มองไม่เห็นชัดเจน
  3. ถ้า d >λ จะเกิดการเลี้ยวเบน และการแทรกสอด มองเห็นแนวการแทรกสอดเป็น แนวบัพ และ แนวปฏิบัพ อย่างชัดเจน

wave-interfere6

โดยสมการการเกิดจุดบัพที่จุด P คือ

d sinθ  หรือ Untitled-6=

 

EXERCISES


โจทย์ คลื่นทดสอบความเข้าใจ 1.

(คลิป เฉลย  จะดูได้สำหรับสมาชิกเท่านััน อยู่ระหว่างดำเนินการ )
โจทย์ ของอาจารย์นิรันด์ สุวรัตน์ น่าลองทำ
(บางข้อจะ มีคลิป เฉลย เพื่อการทำความเข้าใจได้เร็วขึ้น)